เมล็ดพันธุ์ปาล์มยังกัมบิ. เมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ํามัน. พันธุ์ปาล์มที่นิยมปลูก. ต้นปาล์มน้ํามันราคาถูก. ต้นกล้า ปาล์ม น้ํามัน. กล้าปาล์มน้ํามัน. พันธุ์ปาล์ม ยังกัมบิ DxP ML 161 Yangambi. ลักษณะ. ต้นเตี้ย ทางใบสั้น. มีจํานวนทะลายต่อต้นสูงมาก. มีขนาดทลายสดปานกลาง 2040 กก. ทะลาย. ค่าเฉลี่ยของน้ํามันต่อทะลายเท่ากับ 2830%. ทะลายปาล์มมีหนามน้อย. ระยะเวลาในการปลูก 2 ปี 6 เดือน เริ่มออกทะลาย. อายุต้นปาล์มในการเก็บเกี่ยว เฉลี่ย 30 ปี. พื้นที่ในการปลูก 22 ต้น/ไร่. ระยะปลูก ปลูกเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า 9 x 9 x 9 เมตร. ผลิตผลคิดเป็น 5.3 6.5 ตัน/ไร่/ปี. กล้าปาล์มน้ํามัน. พันธุ์ปาล์ม ยังกัมบิ DxP ML 161 Yangambi. ลักษณะ. ต้นเตี้ย ทางใบสั้น. มีจํานวนทะลายต่อต้นสูงมาก. มีขนาดทลายสดปานกลาง 2040 กก. ทะลาย. ค่าเฉลี่ยของน้ํามันต่อทะลายเท่ากับ 2830%. ทะลายปาล์มมีหนามน้อย. ระยะเวลาในการปลูก 2 ปี 6 เดือน เริ่มออกทะลาย. อายุต้นปาล์มในการเก็บเกี่ยว เฉลี่ย 30 ปี. พื้นที่ในการปลูก 22 ต้น/ไร่. ระยะปลูก ปลูกเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า 9 x 9 x 9 เมตร. ผลิตผลคิดเป็น 5.3 6.5 ตัน/ไร่/ปี
เมล็ดพันธุ์ปาล์มโกลเดันเทเนอร่าkb4. สวิตซ์เปิดฝาถังน้ํามัน honda city. พันธ์ปาล์มไนจีเรียแบล็ค. น้ํามันทาบ้านตราปลาฉลาม. เมล็ดพันธ์ปาล์มน้ํามัน
พันธ์ปาล์มไนจีเรียแบล็ค. ปาล์ม หงส์ เหิน
##เป็นไม้มงคลปลูกเพื่อเสริมเรื่องการเงิน คุณประโยชน์ที่ได้จากต้นปาล์ม การใช้ประโยชน์จากต้นปาล์มก็จะแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์เช่นเดียวกัน แล้วแต่ว่าต้นนั้นจะให้ผลผลิตเป็นอะไร ซึ่งเราสามารถสรุปคุณประโยชน์ที่น่าสนใจได้ดังนี้ อาหาร ปาล์มหลายชนิดให้ผลผลิตที่นํามาทานได้ บ้างก็ทานสดแบบผลไม้ บ้างก็ต้องนํามาแปรรูปก่อนใช้งาน เช่น น้ํามัน แป้ง เป็นต้น ข้าวของเครื่องใช้ ไม้ปาล์มบางชนิดมีลวดลายสวยงามและแข็งแรงทนทาน สามารถนํามาผลิตเป็นเฟอร์นิเจอร์และของใช้ภายในบ้านได้ งานก่อสร้าง ไม่ใช่แค่ส่วนลําต้นที่สามารถนํามาสร้างที่พักอาศัยได้เท่านั้น แต่ส่วนใบก็ยังนํามาทําหลังคาในลักษณะเพิงชั่วคราวได้ด้วย ยารักษาโรค ตามตํารับยาโบราณจะมีการใช้บางส่วนของต้นปาล์มมาผสมกับสมุนไพรอื่นๆ แล้วใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยในเบื้องต้นได้ เช่น ช่วยสมานแผล ช่วยลดอาการร้อนใน ใช้ถอนพิษเบื่อเมา ใช้ปรุงเป็นสูตรยาเพื่อบํารุงร่างกาย เป็นต้น NoBrand
ปาล์มน้ํามัน เป็นพืชตระกูลปาล์มลักษณะลําต้นเดี่ยว ขนาดลําต้นประมาณ 12 -20 นิ้ว เมื่ออายุประมาณ 1-3 ปี ลําต้นจะถูกหุ้มด้วยโคนกาบใบ แต่เมื่ออายุมากขึ้นโคนกาบใบจะหลุดร่วงเห็นลําต้นชัดเจน ผิวของลําต้นคล้ายๆ ต้นตาล ลักษณะใบเป็นรูปก้างปลา โคนกาบใบจะมีลักษณะเป็นซี่ คล้ายหนามแต่ไม่คมมาก เมื่อไปถึงกลางใบหนามดังกล่าวจะพัฒนาเป็นใบ การออกดอกเป็นพืชที่แยกเพศ คือต้นที่เป็นเพศผู้ก็จะให้เกสรตัวผู้อย่างเดียว ต้นที่ให้เกสรตัวเมียจึงจะติดผล ลักษณะผลเป็นทะลายผลจะเกาะติดกันแน่นจนไม่สามารถสอดนิ้วมือเข้าไปที่ก้านผลได้ เวลาเก็บผลปาล์มจึงต้องใช้มีดงอ(มีดขอ)เกี่ยวที่โคนทะลายแล้วดึงให้ขาด ก่อนที่จะตัดทะลายปาล์มต้องตัดทางปาล์มก่อนเพราะผลปาล์มจะตั้งอยู่บนทางปาล์ม กระบวนการตัดทาง(ใบ)ปาล์มและตัดเอาทะลายปาล์มลง เรียกรวมๆ ว่า แทงปาล์ม ปาล์มน้ํามันจัดเป็น พืชเศรษฐกิจ มีถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา เป็นพืชที่ให้ผลผลิต น้ํามันต่อหน่วยพื้นที่สูงกว่าพืชน้ํามันทุกชนิด ในประเทศไทยมีการปลูกทั้งทางภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ปาล์มน้ํามันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เป็นปาล์มน้ํามันลูกผสมเทเนอรา โดยเฉพาะที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ช่วงปี 2547 - 2550 มีการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ํามันในพื้นที่นาร้าง โดยกรมพัฒนาที่ดิน มีการขุดร่องให้ฟรี ให้พันธุ์และปุ๋ย โดยให้เหตุผลในการส่งเสริมการปลูกเนื่องจากเป็นปาล์มที่ให้นํามันใช้ได้ทั้งการบริโภคและใช้เป็นไบโอดีเซลได้ ลักษณะของสายพันธุ์เทเนอรา โกลด์เด้นเทเนอร่า ปาล์มน้ํามันสัญชาติไทย พันธุ์ทนแล้ง ผลผลิตสูง 5 ตัน/ไร่/ปี 1.พันธุ์เทเนอรา จะมีผลปาล์มที่เป็นกะลามีความหนาที่ 0.5–4 มม. 2.ผลปาล์มจะมีวงเส้นประสีดําอยู่รอบกะลา 3.มีชั้นเปลือกนอก ความหนาประมาณ 60-90% ของผลปาล์ม 4.พันธุ์เทเนอราจะเป็นพันธุ์ทาง (Heterozygous)(Sh+Sh-) 5.เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างดูราและพิสิเฟอราจึงให้ผลผลิตสม่ําเสมอ 6.ให้ผลผลิตมากกว่า 5 ตันต่อไร่ต่อปี (ในสภาพแวดล้อมเหมาะสมเมื่ออายุ 8 ปี) 7.เนื้อหนา กะลาบาง ให้เปอร์เซ็นต์น้ํามันสูง 26-28% 8.ต้นเตี้ย สูงช้าเก็บเกี่ยวสะดวก 9.ทนแล้งได้นานกว่า 90 วันและยังให้ผลผลิตได้ต่อเนื่อง 10.สูงช้า หางสั้น 11.ทะลายดก น้ําหนักดี เฉลี่ย 5 ตัน/ไร่/ปี 12.อึด ทนแล้ง ปลูกได้ทุกพื้นที่ ได้ผลจริง 13.หนามบนช่อทะลายสั้น 14.ผลปาล์มสุกรอบชั้นนอกหลุดร่วงช้าและให้ผลปาล์มชั้นนอกสุกสม่ําเสมอ ซึ่งมีผลทําให้เปอร์เซ็นต์น้ํามันสูงขึ้น 15.พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ในประเทศไทยตามมาตรฐานสากล •นํามาแปรรูปในรูปแบบของน้ํามันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร •ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม •เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซล •เป็นส่วนผสมเพื่อช่วยลดการใช้น้ํามันดีเซล เพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ •ช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม •สามารถแปรรูปเป็น สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้วย •ใบมาบดเป็นอาหารสัตว์ •กะลาปาล์มเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิง •ทะลายปาล์มใช้เพาะเห็ด •การปลูกปาล์มยังช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการช่วยลดภาวะโลกร้อน ต้นพันธุ์ปาล์มน้ํามัน โกลด์เด้นเทเนอร่า GTปาล์มน้ํามันลูกผสม(DxP) Oil Palm สายพันธุ์เทเนอรา Tenera พืชเศรษฐกิจ พืชน้ํามัน สายพันธุ์ดูรา ไบโอดีเซล น้ํามันปาล์ม พืชพลังงานทดแทน เมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ํามัน ปาล์ม เมล็ดพันธุ์ NoBrand